อุปกรณ์มือถือเป็นสิ่งหนึ่งที่เข้ามามีบทบาทสำคัญในองค์กรเช่นกัน พนักงานใช้อุปกรณ์มือถือเพื่อสื่อสารร่วมกับทีมต่างๆ และเข้าถึงทรัพยากรของบริษัท ฯลฯ
อุปกรณ์มือถือเป็นอีกหนึ่งเครื่องมือสำคัญสำหรับพนักงานในการทำงานให้สำเร็จ ไม่ว่าพนักงานจะทำงานในสำนักงาน ,hybrid หรือจากระยะไกล ผู้ดูแลระบบไอทีจะต้องสามารถช่วยซัพพอร์ตพนักงานจำนวนมากที่ใช้อุปกรณ์แตกต่างกันออกไป (รวมถึงมือถือ) มันเป็นส่วนหนึ่งของหน้าที่ความรับผิดชอบของพวกเขาและเป็นสิ่งสำคัญเพื่อรักษาความปลอดภัยด้านไอที
ในปัจจุบัน มีผู้ใช้งาน Android อยู่มากกว่า 2.5 พันล้านคน ครอบคลุม 190 ประเทศ ทำให้ Android เป็นระบบปฏิบัติการมือถือ อันดับ 1 (OS) ซึ่งคิดเป็นส่วนแบ่งการตลาดมากกว่า 70% ทั่วโลก และเป็นที่นิยมโดยทั่วไปของภูมิภาคนอกอเมริกาเหนือ (Statista 2022) ด้วยความนิยมนี้จึงไม่น่าแปลกใจที่จะพบว่าพนักงานจำนวนมากใช้อุปกรณ์มือถือ Android ในการทำงานและการใช้งานส่วนตัว
Android ให้ประโยชน์มากมายแก่องค์กรและรองรับการใช้งานอันหลากหลาย รวมไปถึงการมีเครื่องมือมากมายสำหรับการใช้ในองกรณ์ ที่ทำให้มีผู้ใช้งานสามารถใช้งานได้อย่างหลากหลาย อันได้แก่
- อุปกรณ์มือถือส่วนบุคคลที่มีโปรไฟล์งานสามารถรองรับความเป็นส่วนตัวของพนักงานได้ เมื่อมีการใช้งานส่วนบุคคล
- อุปกรณ์ที่บริษัทออกให้สำหรับพนักงานที่มีฐานความรู้
- มีโซลูชันอุปกรณ์ เฉพาะแคส ที่ใช้ครั้งเดียว เช่น อุปกรณ์ POS การติดตามสินค้าคงคลัง และอุปกรณ์พกพาที่ทนทาน
ความท้าทายผู้ดูแลระบบ IT และ MSPs Face
ในการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์
ในตลาดมีทางเลือกอย่างจำกัด สำหรับแผนกไอทีและผู้ให้บริการ การจัดการ (MSP) ที่จะให้นำอุปกรณ์มาใช้ในการทำงานเอง (BYOD) ในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) ต้องอาศัยควบคุมและตรวจสอบผู้ใช้ ด้วยตนเองที่ละเอียดอ่อน ส่งผลให้การทำวิธีนี้จะขาดการมองเห็นและการควบคุมในแบบเรียลไทม์ อีกทั้งยังไม่ยั่งยืนในระยะยาวสำหรับธุรกิจ SMEs
และในกรณี โซลูชัน ไม่สามารถรวมเข้ากับการทำงานขององค์กร อาจจะต้องปรับใช้แบบกำหนดค่าเอง จะส่งผลให้มีค่าใช้จ่ายราคาสูงในการรวบรวมและการดำเนินการ หรือทำโซลูชันที่ทับซ้อนกัน
ผู้ดูแลระบบไอทีส่วนใหญ่แล้ว ต้องจัดการกับอุปกรณ์ทั้งหมดให้มีความปลอดภัยอย่างประสิทธิภาพ และ สามารถช่วยสนับสนุนสถานการณ์ BYOD ได้ โดยไม่คำนึงถึงประเภทโทรศัพท์ หรือแท็บเล็ตที่ใช้งานของพนักงาน
อย่างไรก็ตามผู้ดูแลระบบจำเป็นต้องทำเช่นนี้ เพราะเพื่อให้ผู้ใช้งานปลายทางปฏิบัติตามนโยบายความปลอดภัยและการเข้าถึงของบริษัทได้อย่างปลอดภัย แต่ในแนวทางกลับกัน พนักงานที่ใช้อุปกรณ์ส่วนตัวในการทำงานจากระยะไกล ก็สามารถมั่นใจได้เช่นกันว่าข้อมูลส่วนบุคคลของพวกเขา จะไม่สามารถเข้าถึงหรือมองเห็นได้โดยผู้ดูแลระบบไอทีหรือโซลูชันการจัดการความคล่องตัวขององค์กร (EMM)
JumpCloud ช่วยให้กลยุทธ์มือถือ BYOD และ COPE (ที่องค์กรเป็นเจ้าของการเปิดใช้งานแบบการส่วนตัว) จะใช้งานง่ายและปลอดภัย
ทำไม JumpCloud ต้องมีระบบ Android EMM
JumpCloud Android EMM ช่วยให้ผู้ดูแลระบบไอทีและ MSP สามารถเลือก ,ปรับใช้ ,จัดการอุปกรณ์ และบริการของ Android ได้อย่างปลอดภัยทุกพื้นที่ อีกทั้งยังช่วยเพิ่มความปลอดภัย และเพิ่มสามารถในการควบคุมบนอุปกรณ์ Android COD (ที่องค์กรเป็นเจ้าของ) และ BYOD ที่หลากหลาย ให้มีแนวทางจัดการนโยบายที่ยืดหยุ่นซึ่ง ต้องให้ความสำคัญในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในองค์กรและเคารพความเป็นส่วนตัวของพนักงานอีกด้วย
ความสามารถหลักๆ ของ JumpCloud Android EMM
- การเตรียมอุปกรณ์: กำหนดค่าและจัดการแอพ, ข้อมูล และนโยบายขององค์กรได้ง่ายดายขึ้น และการจัดการไอที่ราบรื่น อีกทั้งยังสามารถแยกงานและการใช้งานส่วนตัวบนอุปกรณ์ได้อย่างชัดเจน ซึ่งผู้ดูแลระบบอาจใช้รหัส QR สำหรับการจัดเตรียมหรือ โทเค็นสำหรับการลงทะเบียนสแกนรหัส QR
- ความปลอดภัยของอุปกรณ์: อนุญาตให้มีการบังคับใช้นโยบายความปลอดภัยขององค์กร เพื่อป้องกันการรั่วไหลของข้อมูลและควบคุมกิจกรรมของผู้ใช้งาน
- การจัดการแอปพลิเคชัน: เปิดใช้งานการแจกจ่ายแอปโดยไม่ต้องใช้บัญชีเจาะจง เช่น บัญชี Google ได้ และ รวมถึงการซัพพอรต์แอพสาธารณะ ,ส่วนตัว และเว็บผ่านบนหน้าเว็บเดียวกันได้
- การจัดการอุปกรณ์: ผู้ดูแลระบบไอทีสามารถตั้งค่าให้สิทธิ์เฉพาะได้ โดยไม่มีการแจ้งเตือนอนุญาตถึงผู้ใช้ปลายทางจำนวนมาก
- การจัดการบัญชี: การจัดการบัญชีที่สอดคล้องสำหรับบัญชี Google Play รวมถึงการลงทะเบียนองค์กร การจัดเตรียม และการจัดการในชีวิตประจำ
ประโยชน์หลักของ JumpCloud Android EMM
ประโยชน์ Android EMM ของ JumpCloud ทำให้ลูกค้า
สามารถรองรับทั้งอุปกรณ์ Android และ iOS จาก
Console เดียวกัน
เป็นศูนย์รวมที่สามารถจัดการการกระจายอุปกรณ์ ละการควบคุมอุปกรณ์ของผู้ใช้ปลายทางที่ดียิ่งขึ้น
สามารถปรับปรุงภาพโดยรวมของผู้ดูแลระบบได้
ประโยชน์ที่ลูกค้าโดยตรงจะได้รับ คือ :
ช่วยลดการจัดการทางไอทีให้น้อยลง: สามารถกำหนดค่า ,ทดสอบ และให้อุปกรณ์ Android แต่ละเครื่องได้อย่างง่ายดายและโดยอัตโนมัติ
อย่างเช่น เมื่อตั้งค่าใน Google Play Store คอนโซลของ JumpCloud จะทำหน้าที่เป็นหน้าต่างบานเดียวเพื่อจัดการข้อมูลประจำตัวและอุปกรณ์ทั้งหมด ช่วยประหยัดเวลา และลดกระบวนการแบบแมนนวล
ช่วยลดความเสี่ยงด้านความปลอดภัย: สามารถจำกัดความเสี่ยงด้านความปลอดภัยที่อาจเกิดขึ้นสำหรับ BYOD ในการทำงาน ช่วยตรวจสอบและจำกัดการใช้แอพขององค์กร รวมถึงส่วนข้อมูลและนโยบาย อีกทั้งตรวจโปรไฟล์การทำงานเพื่อให้อุปกรณ์มีความปลอดภัยอย่างเต็มที่ ที่จะใช้ในการทำงาน JumpCloud และให้ตัวเลือก กำหนดสำหรับการตั้งค่าใด ๆ แก่ผู้ดูแลระบบในการปรับใช้เพย์โหลด JSON รวมถึงนโยบายที่ตั้งค่าไว้ล่วงหน้าสำหรับรหัสผ่านและอื่น ๆ
เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของผู้ใช้: ช่วยสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ใช้ปลายทางที่ใช้อุปกรณ์ที่พวกเขาเลือก Android EMM ของ JumpCloud ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานบนมือถือที่คุ้นเคย
สามารถตั้งค่าความเป็นส่วนตัวของผู้ใช้ปลายทางได้ : เพิ่มความมั่นใจแก่ผู้ใช้ปลายทางว่าข้อมูลส่วนบุคคลจะถูกเก็บแยกออกจากข้อมูลของบริษัท และไอทีไม่สามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา
ประโยชน์ของ MSP
เพิ่มพื้นที่การใช้งานมากขึ้น: ศูนย์รวมหลักทั้งหมด (เช่น การระบุตัวตน การเข้าถึง และการจัดการอุปกรณ์ เช่น เดสก์ท็อปและมือถือ ในแพลตฟอร์มไดเร็กทอรีแบบเปิดของ JumpCloud
ช่วยลดต้นทุนการดำเนินงาน: ช่วยหาวิธีที่ง่ายและคุ้มค่าสำหรับ MSP ในการจัดการอุปกรณ์พกพาแบบหลายระบบปฏิบัติการ
ลดความเสี่ยง และรักษาความปลอดภัย: ช่วยจัดการอุปกรณ์ Android ได้อย่างปลอดภัยสำหรับลูกค้าของ MSP ไม่ว่าจะเป็นของบริษัทหรือผู้ใช้ปลายทางที่นำอุปกรณ์ของตนเองมาใช้งาน
เพิ่มความพึงพอใจของผู้ใช้งาน: ความสามารถในการสนับสนุนระบบปฏิบัติการที่หลากหลายระบบ สำหรับอุปกรณ์พกพาทำให้ผู้ใช้งาน MSP และผู้ใช้ปลายทางมีความสุข เนื่องจากไม่ได้จำกัดการใช้อุปกรณ์มือถือโดยเฉพาะ
สามารถทดลองใช้ JumpCloud Android EMM ฟรี!
สามารถลงทะเบียนเพื่อ ทดลองใช้งานฟรี วัสำหรับการจัดการอุปกรณ์มือถือ (Android และ iOS / iPadOS) ของคุณให้มีประสิทธิภาพจากคอนโซลเดียว
https://console.jumpcloud.com/
สำหรับลูกค้า JumpCloud สามารถใช้งานได้ฟรีโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม ทั้งในระบบ Android EMM รวมถึงในแพลตฟอร์ม JumpCloud Plus
เนื่องจาก
JumpCloud Directory Platform สามารถทำงานได้ดีกับโซลูชันไอทีอื่น ๆ ในตลาด องค์กรและ MSP จึงนิยมใช้งานรวมกับโซลูชันการจัดการอุปกรณ์และการจัดการการเข้าถึงข้อมูลประจำตัว (IAM)